ปฏิบัติการทหารไทย
ในสมรภูมิเวียดนาม
เรื่อง : สุเจน กรรพฤทธิ์
Image
กรกฎาคม
สนธิสัญญาเจนีวา
แบ่งเวียดนามเป็นเหนือและใต้
Image
Image
ตุลาคม
เวียดนามใต้ทำประชามติเปลี่ยนประเทศเป็นสาธารณรัฐยกเลิกระบอบจักรพรรดิ
Image
บทเพลงโจมตีจักรพรรดิบ่าวได่  ช่วงก่อนลงประชามติ
Image
กันยายน
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำรัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป. 
ตั้ง พจน์ สารสิน ขึ้นเป็นนายกฯ
Image
มกราคม
พลโท ถนอม กิตติขจร เป็นนายกฯ หลังการเลือกตั้ง
Image
Image
มกราคม
กรรมการกลางพรรคลาวด่ง (พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามเหนือ) ผ่านมติการต่อสู้ด้วยอาวุธอย่างยืดเยื้อมุ่งโค่นรัฐบาลในเวียดนามใต้
กุมภาพันธ์
จอมพลสฤษดิ์เป็นนายกฯ/หัวหน้าคณะรัฐประหารตั้งจอมพลถนอมเป็นรองนายกฯ
Image
Image
ธันวาคม
ก่อตั้งแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติเวียดนาม (National Liberation Front - NLF) ในเวียดนามใต้
Image
มกราคม
จอห์น เอฟ. เคนเนดี (John F. Kennedy) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ
Image
Image
กุมภาพันธ์
สหรัฐฯ ตั้งหน่วยช่วยเหลือทางทหารในเวียดนามใต้ (Military Assistant Command Vietnam - MACV)
Image
Image
มีนาคม
พันเอก ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศพบ ดีน รัสก์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ
ทำ “สนธิสัญญาถนัด-รัสก์” ให้สหรัฐฯ เคลื่อนกำลังป้องกันไทยหากสถานการณ์ฉุกเฉิน
Image
มิถุนายน
พระทิกกว่างดึ๊กเผาตัวเองในไซ่ง่อนประท้วงรัฐบาลเวียดนามใต้
๑ พฤศจิกายน
เกิดรัฐประหารในเวียดนามใต้ ประธานาธิบดีเสี่ยมและน้องชายถูกฆ่า 
๒๒ พฤศจิกายน
- ประธานาธิบดีเคนเนดีถูกลอบสังหาร 
- รองประธานาธิบดีลินดอน บี. จอห์นสัน (Lyndon B. Johnson) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ
- พลเอก วิลเลียม ซี. เวสต์มอร์แลนด์ (William C. Westmoreland) เป็นผู้บัญชาการ MACV 
๘ ธันวาคม
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถึงแก่อสัญกรรม จอมพล ถนอม กิตติขจร ขึ้นเป็นนายกฯ 

Image
เมษายน
ประธานาธิบดีจอห์นสัน เริ่มโครงการ More Flags
๒๑ กรกฎาคม
คณะรัฐมนตรีไทยอนุมัติความช่วยเหลือทางทหารบางประเภทให้เวียดนามใต้
สิงหาคม
เหตุการณ์ที่อ่าวตังเกี๋ย (Tonkin incident) การปะทะระหว่างเรืออเมริกันและเวียดนามเหนือทำให้รัฐสภาสหรัฐฯ ผ่าน “มติอ่าวตังเกี๋ย” ให้ประธานาธิบดีใช้กำลังทหารโดยไม่ต้องประกาศสงคราม
๑๙ กันยายน
หน่วยบิน “วิกตอรี” ของไทยประจำการในเวียดนามใต้
Image
๒ มีนาคม
กองทัพอากาศสหรัฐฯ ปฏิบัติการ Rolling Thunder ทิ้งระเบิดในเวียดนามเหนือ
Image
๘ มีนาคม
นาวิกโยธินสหรัฐฯ ๓,๕๐๐ คน ยกพลขึ้นบกที่ดานัง 
ตุลาคม
สหรัฐฯ ใช้เฮลิคอปเตอร์รบในเวียดนามและใช้นโยบาย “นับศพ” (body count) มองว่าเป็นชัยชนะหากกำจัดข้าศึกได้มากกว่าการสูญเสียทหารฝ่ายตนเอง
พฤศจิกายน
ไทยตั้งกองบังคับการหน่วยช่วยเหลือทางทหารในเวียดนามใต้ (บก.ชท.วน.)
Image
๒๔ กรกฎาคม
ไทยส่งเครื่องบิน C-123 สองเครื่องไปประจำในเวียดนามใต้
Image
๑๒ ธันวาคม
หน่วยซีฮอร์สของกองทัพเรือไทยประจำการเวียดนามใต้
Image
มกราคม
ไทยประกาศส่งทหารภาคพื้นดินไปเวียดนามใต้อนุญาตให้สหรัฐฯ ใช้ฐานทัพอากาศ
กุมภาพันธ์
ไทยเริ่มฝึกทหารอาสากรม “จงอางศึก” และส่งหน่วยล่วงหน้าไปเวียดนามใต้
๒๙ พฤษภาคม
ยกระดับ บก.ชท.วน. เป็นกองบัญชาการกองกำลังไทยในสาธารณรัฐเวียดนาม (บก.กกล.ไทย/วน.)
Image
๘ สิงหาคม
ก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ที่กรุงเทพฯ
กันยายน
“กรมจงอางศึก” ประจำการในเวียดนามใต้
Image
๔ เมษายน
มาร์ติน ลูเทอร์ คิง ถูกลอบยิงเสียชีวิตมีการประท้วงต่อต้านสงครามทั่วอเมริกา
๑๐ เมษายน
สหรัฐฯ เริ่มเจรจากับเวียดนามเหนือที่ปารีส
๒๙ กรกฎาคม 
“กองพลเสือดำ” รับช่วงภารกิจต่อจาก “กรมจงอางศึก”
๓๑ ตุลาคม
ประธานาธิบดีจอห์นสันสั่งหยุดทิ้งระเบิดเวียดนามเหนือ
Image
๕ พฤศจิกายน
นิกสันได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ
Image
กองพลเสือดำผลัดที่ ๒
ประจำการในเวียดนามใต้

เมษายน
สหรัฐฯ เริ่มวางแผนถอนทหารออกจากเวียดนามเริ่มนโยบาย Vietnamization
ตุลาคม
สหรัฐฯ ประกาศถอนทหารออกจากไทย ๖,๐๐๐ คน 
๓ พฤศจิกายน
ประธานาธิบดีนิกสันประกาศ “หลักการนิกสัน”
Image
กองพลเสือดำผลัดที่ ๓ 
ประจำการในเวียดนามใต้

มีนาคม
ประธานาธิบดีนิกสันสั่งทิ้งระเบิดในกัมพูชา
เมษายน
มีการประท้วงต่อต้านสงครามทั่วสหรัฐฯ มีนักศึกษาเสียชีวิตสี่คน
๔ สิงหาคม
รัฐบาลไทยแจ้งรัฐบาลเวียดนามใต้เรื่องถอนทหาร
Image
กองพลเสือดำผลัดที่ ๔ 
ประจำการในเวียดนามใต้

๗ เมษายน
ทหารผ่านศึกเวียดนามประท้วงต่อต้านสงครามในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ๒ แสนคน 
มิถุนายน
นิวยอร์กไทมส์ ตีพิมพ์ “Pentagon Papers” ทำให้รัฐบาลสหรัฐฯ เสียเครดิต
Image
กรกฎาคม
ไทยทยอยถอนทหารกองพลเสือดำ
Image
๒๑ กุมภาพันธ์
ประธานาธิบดีนิกสันไปเยือนจีนแผ่นดินใหญ่
Image
๓๐ มีนาคม
เวียดกงเปิดปฏิบัติการ Easter Offensive ทำให้ประธานาธิบดีนิกสันสั่งปฏิบัติการ Linebacker ทิ้งระเบิดเวียดนามเหนือเป็นการตอบแทน
พฤษภาคม
ไทยทยอยถอนทหารกองพลเสือดำ
๒๓ ตุลาคม
ไทยส่งทีมปิงปองไปแข่งที่จีนแผ่นดินใหญ่เริ่มเปลี่ยนท่าทีทางการทูตกับจีน
Image
๒๗ มกราคม
อเมริกากับเวียดนามเหนือลงนามในสนธิสัญญาปารีส
Image
มิถุนายน
สภาคองเกรสผ่านกฎหมายหยุดสนับสนุนปฏิบัติการทางทหารในเวียดนาม
๑๔ ตุลาคม
การประท้วงโค่นรัฐบาลจอมพลถนอมในไทย สัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกฯ คนใหม่ 
Image
๙ สิงหาคม
ประธานาธิบดีนิกสันลาออกรองประธานาธิบดีฟอร์ดดำรงตำแหน่งแทน 
ธันวาคม
รัฐบาลเวียดนามเหนือเริ่มติดต่อกับรัฐบาลไทยผ่านช่องทางการทูตในลาว 
Image
๓๐ มีนาคม
เวียดนามเหนือยึดเว้ ดานัง และเริ่มรุกเข้าใกล้เมืองหลวง
๑๔ เมษายน
เอกอัครราชทูตไทยประจำไซ่ง่อนกลับกรุงเทพฯ เพื่อรายงานข้อราชการ
๒๑ เมษายน
เหงวียนวันเถี่ยว ประธานาธิบดีเวียดนามใต้ลาออกนายพลเดืองวันมินห์ดำรงตำแหน่งแทน 
๒๓ เมษายน
รัฐบาลไทยสั่งปิดสถานทูตในไซ่ง่อนอพยพเจ้าหน้าที่กลับประเทศ 
๒๘ เมษายน
ไซ่ง่อนโดนปิดล้อม ประธานาธิบดีฟอร์ดสั่งปฏิบัติการ Frequent Wind
๒๙ เมษายน
เดืองวันมินห์ ประกาศยอมแพ้โดยไม่มีเงื่อนไข
๓๐ เมษายน
เวียดนามใต้ถูกลบออกจากแผนที่การเมืองโลก
เอกสารประกอบการเขียน
กองประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหาร กรมการศึกษาวิจัย กองบัญชาการทหารสูงสุด. ประวัติกองทัพไทยในรอบ ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๕๒๕. กรุงเทพฯ : กองบัญชาการทหารสูงสุด, ๒๕๒๕.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. . จากหน้า ๕ หนังสือพิมพ์สยามรัฐ. กรุงเทพฯ : ’รงค์ วงษ์สวรรค์กับเพื่อนหนุ่มแห่งละแวกเฟื่องนคร, ๒๕๑๒.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. . สงครามเวียดนาม. นนทบุรี : เดอะ บุ๊คส์ เลิฟเวอร์, ๒๕๖๑.

ชูศรี มีสมมนต์. กว่าจะได้เป็นชูศรี. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, ๒๕๓๔.

ธิดารัตน์ วิริยะวัฒน์, พันเอกหญิง. “การรบกับเวียดกงครั้งสำคัญของวีรบุรุษฟุกโถ.”
ยุทธโกษ ปีที่ ๑๐๙ ฉบับที่ ๔ ประจำเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม-กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๔.

เสลา ไทยน้อย เรขะรุจิ. ตลุยไซ่ง่อน แดนมิคสัญญี. พระนคร : แพร่พิทยา, ๒๕๑๒.

สุบรรณ เศวตมาลย์. เมื่อสิ้นชาติ สิ้นแผ่นดิน ก็สิ้นคิด : บันทึกของเอกอัครราชทูตไทยคนสุดท้าย ก่อนและหลังเวียดนามแตก. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด, ๒๕๓๑.

สนธิ บุญยรัตกลิน, พลเอก. THE TRUTH I ความจริงที่เป็นเรื่องจริง. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๖๐.

องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชินูปถัมภ์. ผ่านศึกสาร ฉบับพิเศษ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒. 

“กองทหารไทยในเวียตนาม.” สำนักข่าวสารอเมริกัน กรุงเทพฯ. เสรีภาพ ปีที่ ๑๘ ฉบับที่ ๑ (ไม่ทราบเดือนและปี).

“ความรู้ความสามารถเป็นของกำนัล.” สำนักข่าวสารอเมริกัน กรุงเทพฯ. เสรีภาพ
ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๑ (ไม่ทราบเดือนและปี).

พอล เอ็ม. เพนนอค. “ทหารไทยมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างสันติสุข.” สำนัก
ข่าวสารอเมริกัน กรุงเทพฯ. เสรีภาพ ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๑๑ (ไม่ทราบเดือนและปี).

สำราญ เกษตรเอี่ยม. “ชาวเวียดนามชื่นชอบทหารไทย.” สำนักข่าวสารอเมริกัน
กรุงเทพฯ. เสรีภาพ ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๓ (ไม่ทราบเดือนและปี). 

ไทยส่งเรือไปเวียตนามใต้. สำนักข่าวสารอเมริกัน กรุงเทพฯ. เสรีภาพ ฉบับที่ ๑๓๖ (พฤษภาคม ๒๕๑๐).

“บี ๕๒ โจมตีเวียดนามจากฐานทัพในประเทศไทย.” สำนักข่าวสารอเมริกัน กรุงเทพฯ. เสรีภาพ ฉบับที่ ๑๔๐ (กันยายน ๒๕๑๐).

“เมื่อจงอางศึกสู่สมรภูมิเวียดนาม.” สำนักข่าวสารอเมริกัน กรุงเทพฯ. เสรีภาพ. ฉบับที่ ๑๔๖ (มีนาคม ๒๕๑๑).

“จงอางศึกรบห้าวหาญ จนเวียตกงไม่กล้าประจันหน้า.” สำนักข่าวสารอเมริกัน กรุงเทพฯ. เสรีภาพ ฉบับที่ ๑๕๔ (พฤศจิกายน ๒๕๑๑).

ภาษาอังกฤษ
Biggs, David. Quagmire : Nation-Building and Nature in the Mekong Delta. Seattle : University of Washington Press, 2010.

Blackburn, Robert M. Mercenaries and Lyndon Johnson’s “More Flags” : The Hiring of Korean, Filipino and Thai Soldiers in Vietnam War. Jefferson, NC : McFarland, 1994.

Brigham, Robert K. Reckless : Henry Kissinger and the tragedy of Vietnam. New York : Public Affairs, 2018. 

Chapman, Jessica M. Cauldron of Resistance : Ngô Đình Diệm, the United States, and 1950s Southern Vietnam. Ithaca and London : Cornell University Press, 2013.

Gordon Kerr, A Short History of the Vietnam War. London : Pocket Essentials, 2015.

Lieutenant General Stanley Robert Larsen and Brigadier General James Lawton Collins, Jr. Allied Participation in Vietnam. Washington
D.C. : Department of the Army, 1975. 

Miller, Edward. Misalliance : Ngo Dinh Diem, the United States, and the Fate of South Vietnam. Massachusetts : Harvard University Press, 2013.

Ruth, Richard A. In Bhuddha’s Company. Honolulu : University of Hawai’i Press, 2010.

Sorley, Lewis. Westmoreland : the general who lost Vietnam. New York, 2012.

Truong Nhu Tang. A Vietcong Memoir : An inside account of the Vietnam War and its aftermath. New York : Vintage Books, 1986.

ภาษาเวียดนาม
Ban chấphành Đảngbộ Huyện Long Thành. Lịchsử Đảngbộ Huyện Long Thành 1930-1975. Tháng 4 năm 2008.

เว็บไซต์
https://www.aafes.com/about-exchange/history-mission/

https://www.nytimes.com/2017/11/07/opinion/thailand-vietnam-war.html

ขอขอบคุณ
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, พิพิธภัณฑ์ทหารผ่านศึกเวียดนาม, คุณศรัณย์ ทองปาน, ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกตวงศ์ ภูมิพลับ

หมายเหตุ
สำนวนแปลเอกสารเวียดนามในเวอร์ชันภาษาไทยเป็นสำนวนแปลของผู้เขียนโดยแปลจากเวอร์ชันภาษาอังกฤษของผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกตวงศ์ ภูมิพลับ ทั้งนี้การถอดเสียงภาษาเวียดนามจากเอกสารใช้สำเนียงฮานอย